หลักการประเมินคะแนน

เรามีวิธีการคำนวณคะแนนที่ปรากฏอย่างไร เราเลือกใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบใด และเพราะเหตุใด?

โครงการนี้ใช้วิธีการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment – LCA) ในการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของอาหาร โดยจำลองการปล่อยก๊าซและการใช้ทรัพยากรตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ซึ่งวิธีนี้ช่วยให้เราเห็นถึงภาพรวมของผลกระทบในด้านต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใช้น้ำ และปรากฏการณ์ยูโทรฟิเคชั่น (ปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสีหรือสาหร่ายสะพรั่ง)

สืบเนื่องมาจากความจำเป็นที่จะต้องใช้ข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ เราจึงเลือกฐานข้อมูล “Agribalyse’ ของฝรั่งเศสเป็นฐานข้อมูลหลัก แม้ว่าฐานข้อมูลนี้จะไม่สามารถให้ข้อมูลที่เฉพาะตามแต่ละประเทศได้ แต่ Agribalyse ถือเป็นฐานข้อมูลที่ครอบคลุมที่สุดสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่มีอยู่ในปัจจุบัน ในโครงการนี้ยังมีการพัฒนาระบบหลังบ้านแบบไดนามิก “Food Impact Toolkit” ที่ช่วยให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เจาะจงของประเทศต่าง ๆ เพื่อนำมาพิจารณาเพิ่มเติม ซึ่งระบบนี้ถูกออกแบบให้รองรับการพัฒนาและปรับปรุงระบบต่อไปในอนาคต สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมกรุณาดูที่ลิงก์ด้านล่างของหน้านี้

วิธีการประเมินที่เราเลือกใช้ในโครงการนี้สอดคล้องกับแนวทางรอยเท้าด้านสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ (Product Environmental Footprint – PEF) ของคณะกรรมาธิการยุโรปเป็นส่วนใหญ่ ทั้งยังมีการปรับปรุงในบางส่วนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประเมินผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาดูที่ลิงก์ด้านล่างของหน้านี้

อะไรเป็นลักษณะของผลกระทบจากอาหาร

การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างครอบคลุม

โดยใช้การประเมินวัฏจักรชีวิต (Life-Cycle Assessment) Impacts of Food คำนวณผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของอาหารประมาณ 2,700 รายการ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตัดสินใจได้อย่างมีข้อมูลและอยู่ในขอบเขตของโลกอย่างยั่งยืน

การเปิดเผยผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ

ในฐานะผู้บุกเบิกในวงการ Impacts of Food ได้นำวิธีการที่เป็นนวัตกรรมมาใช้ในการคำนวณผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ โดยอิงตามกลยุทธ์สหวิทยาการ ซึ่งรวมถึงการทดสอบภาคสนามและการใช้ชุดข้อมูลที่มั่นคงเพื่อรับประกันความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของการคำนวณของเรา

การสื่อสารที่เข้าใจง่าย

การนำเสนอคะแนนในรูปแบบที่เข้าใจง่ายช่วยให้ผู้บริโภคสามารถรับข้อมูลได้อย่างสะดวก ทำให้ตัดสินใจอย่างมีข้อมูลและปรับรูปแบบการบริโภคให้อยู่ในขอบเขตของโลกอย่างยั่งยืน

Determining the environmental footprint of food products

Select a score and learn more.

Very Light – it's a good choice!

When the Impact Score of the product is Very Light, this means that the product has a very low environmental impact.

Light – it's a good choice!

When the Impact Score of the product is Light, this means that the product has a low environmental impact.

Moderate – consume consciously.

When the Impact Score of the product is moderate, this means that the product has a moderate overall impact on the environment.

Heavy – try to consume less.

When the Impact Score of the product is Heavy, this means that the product has a high overall impact on the environment.

Very Heavy – try to avoid.

When the Impact Score of the product is Very Heavy, this means that the product has a very high impact on the environment.

Exemplary products with a very low impact.

Exemplary products with a low impact.

Exemplary products with a moderate impact.

Exemplary products with a high impact.

Exemplary products with a very high impact.

Impact Categories explained

Climate

แสดงเพิ่มเติม

Pollution of Soil & Water

แสดงเพิ่มเติม

Water Consumption

แสดงเพิ่มเติม

Biological Diversity

แสดงเพิ่มเติม

Impacts to consider explained

The following impacts play an additional important role when it comes to making sustainable food choices.

Food waste

Food waste

Food waste

Food waste

Food waste

Food waste

Overfishing

Overfishing

Overfishing

Overfishing

Overfishing

Food Safety

Food Safety

Food Safety

Food Safety

Food Safety

Food Safety

Organic Production

Organic Production

Organic Production

Organic Production

Organic Production

ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยของเราหรือไม่

สามารถดูคำอธิบายโดยละเอียดได้ที่ แนวทางการใช้ข้อมูล

Caution: This is a prototype that only lists a selection of products. Some features are not fully developed (e.g. nutrional values, methodological assumptions, data availability). For further information please get in touch!